ระบบคลังสินค้า

ระบบการคลัง

ขั้นตอนที่ 1

การเสนอแนวทางเลือกในการนาระบบใหม่มาใช้งาน

             แนวทางเลือกเพื่อนำระบบใหม่มาใช้งาน โดยจะบอกถึงรายระเอียดของระบบที่จะพัฒนามีดังนี้ ระบบการคลังโดยมีแนวทางเลือกจานวนทั้งสิน 2 ทางเลือก

1.ซื้อซอฟแวร์สำเร็จรูป

2.จ้างบริษัทภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ




การเสนอแนวทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้งาทางเลือกที่

1 : การจัดซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จรูป มีรายละเอียดดังตาราง

ลำดับ
ความต้องการในระบบ
แนวทางเลือกทั้ง 2 แนวทาง ในการจัดการระบบการสั่งจองสินค้า
             หาซื้อ Software A
            หาซื้อ Software B


                              ความต้องการที่คาดว่าจะได้รับ
    1
หน้าที่การงาน
สามารถพัฒนำระบบได้ตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการที่ได้จัดทำไว้
สามารถพัฒนาระบบได้ตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการที่ได้จัดทำไว้
   2
ความยืดหยุ่น
ปรับแต่งได้ตามความต้องการโดยไม่กระทบองค์กร
ไม่สามารถปรับแต่งได้ตามความต้องการแต่ก็ไม่กระทบองค์กร


เงื่อนไข
   1
ต้นทุน/ค่าบำรุง
รักษาระบบ
                     60,000
                    57,000
   2
การบริการหลัง
ติดตั้งเสร็จแล้ว
ติดตั้งแล้วฝึกอบรมการใช้งาน
5 วันโดยไม่มีค่าใช้จ่าย
ติดตั้งแล้วฝึกอบรมการใช้งาน
5 วันโดยไม่มีค่าใช้จ่าย
   3
คู่มือประกอบการ
ใช้งาน
คู่มือสำหรับใช้งานพร้อมสอบถามปัญหาได้ทางโทรศัพท์หรือ e-mail
คู่มือสำหรับใช้งานพร้อมสอบถามปัญหาได้ทางโทรศัพท์หรือ e-mail
   4
ระยะเวลาการทำระบบเสร็จ
                          60 วัน
                           45 วัน

การประเมินแนวทางเลือกที่ 1
ทางทีมงานได้ทาการประเมินผลแนวทางเลือกซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม โดยกำหนด
 เกณฑ์การให้น้าหนัก (คะแนน) เชิงปริมาณเปรียบเทียบไว้เป็น 4 ระดับ ดังนี้

  น้ำหนักเท่ากับ 4 ช่วงคะแนน 100-90 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดีมาก
  น้ำหนักเท่ากับ 3 ช่วงคะแนน 89-70 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดี
  น้ำหนักเท่ากับ 2 ช่วงคะแนน 69-50 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ พอใช้
  น้ำหนักเท่ากับ 1 ช่วงคะแนน 49-30 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ปรับปรุง



สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกที่ 1
สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกและคัดเลือกซื้อ Software B มาใช้งาน เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด


ทางเลือกที่ 2 : ว่าจ้างบริษัทภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ มีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้
การประเมินแนวทางเลือกที่ 2

ทางทีมงานได้ทำการประเมินผลแนวทางเลือกว่าจ้างบริษัทภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ ที่เหมาะสม โดยกำหนดเกณฑ์การให้น้ำหนัก (คะแนน) เชิงปริมาณเปรียบเทียบไว้เป็น 4 ระดับ ดังนี้

น้ำหนักเท่ากับ 4 ช่วงคะแนน 100-90 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดีมาก
น้ำหนักเท่ากับ 3 ช่วงคะแนน 89-70 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดี
น้ำหนักเท่ากับ 2 ช่วงคะแนน 69-50 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ พอใช้
น้ำหนักเท่ากับ 1 ช่วงคะแนน 49-30 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ปรับปรุง 


สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกที่ 2
สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกและคัดเลือกว่าจ้างบริษัทติดตั้งระบบ B มาใช้งาน เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด



เปรียบเทียบแนวทางเลือกทั้ง2
ผลจากการพิจารณาแนวทางเลือกของทีมงานจากทั้งสองแนวทาง จะนำเสนอเข้าสู่การพิจารณาของผู้บริหารเพื่อพิจารณาเลือกแนวทางตามที่ได้นำเสนอจากทีมงานพัฒนาพร้อมข้อเสนอแนะในแต่ละแนวทางเลือกหลักทั้งสอง โดยมีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้

ลำดับ
ความต้องการในระบบ
แนวทางเลือกทั้ง 2 แนวทาง ในการจัดการระบบการสั่งจองสินค้า
การจัดซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จรูป B
  ว่าจ้างบริษัทติดตั้งระบบ B


                              ความต้องการที่คาดว่าจะได้รับ
    1
หน้าที่การงาน
สามารถพัฒนาระบบได้ตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการของบริษัทที่ได้จำทำไว้
สามารถพัฒนาระบบได้ตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการของบริษัทที่ได้จำทำไว้
   2
ความยืดหยุ่น
ไม่สามารถปรับแต่งได้ตามความต้องการแต่ก็ไม่กระทบองค์กร
ปรับแต่งได้ตามความต้องการโดยไม่กระทบองค์กรสามารถพัฒนาไปยังอนาคตข้างหน้าได้


เงื่อนไข
   1
ต้นทุน/ค่าบำรุง
รักษาระบบ
                     57,000
                    63,000
   2
การบริการหลัง
ติดตั้งเสร็จแล้ว
ติดตั้งแล้วฝึกอบรมการใช้งาน
5 วันโดยไม่มีค่าใช้จ่าย
ติดตั้งแล้วฝึกอบรมการใช้งาน
3 วันโดยเสียค่าใช้จ่าย
   3
คู่มือประกอบการ
ใช้งาน
คู่มือสำหรับใช้งานพร้อมสอบถามปัญหาได้ทางโทรศัพท์หรือ e-mail
คู่มือสำหรับใช้งานพร้อมสอบถามปัญหาได้ทางโทรศัพท์หรือ e-mail
   4
ระยะเวลาการทำระบบเสร็จ
                          30 วัน
                           30 วัน


ข้อเสนอแนะแนวทางเลือกทั้ง2แนวทาง

แนวทางเลือกที่ 1 การจัดซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จระบบB

ข้อดี ระบบ มีความสามารถพัฒนาระบบได้ตรงตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการ ของบริษัทที่ได้จัดทำไว้ราคาต้นทุน/ค่าบำรุงรักษาระบบไม่สูงมากนัก

ข้อเสีย ระบบไม่สามารถปรับแต่งได้ตามความต้องการแต่ก็ไม่กระทบองค์กรใช้ระยะเวลาในการติดตั้งและฝึกอบรมการใช้งานนาน

แนวทางเลือกที่ 2 การว่าจ้างบริษัทภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ B

ข้อดี ระบบ มีความสามารถพัฒนาระบบได้ตรงตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการ ของบริษัทที่ระบบยังมีความยืดหยุ่นในปรับแต่งได้ตามความต้องการโดยไม่กระทบ องค์กรสามารถพัฒนาไปยังอนาคตข้างหน้าได้ใช้ระยะเวลาติดตั้งและฝึกอบรมการใช้ งานน้อย

ข้อเสีย ราคาต้นทุน/ค่าบำรุงรักษาระบบค่อนค้างสูง

ผู้บริหารเลือกแนวทางที่ดีที่สุด
หลังจากหัวหน้าทีมงานได้เสนอแนวทางเลือก โดยจัดทำข้อมูลเปรียบเทียบและข้อเสนอแนะแก่ทีมผู้บริหาร โดยใช้กฎเกณฑ์การให้น้าหนัก (คะแนน) ดังตารางต่อไปนี้


สรุปผลการประเมินโดยทีมงานผู้บริหาร
ทางทีมงานผู้บริหารได้พิจารณาตัดสินใจเลือกแนวทางการว่าจ้างบริษัทติดตั้งระบบ B เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุดนอกจากจะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดาเนินงานแม้ว่าราคาค่าติดตั้งจะค่อนค้างสูง แต่ก็มีความคุ้มค่าในการลงทุนแล้วแล้วยังสามารถพัฒนาไว้ใช้งานในระยะยาว



ขั้นตอนที่ 2 การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ
เป้าหมาย
นำระบบสาระสนเทศเพื่อการบริหารงานการคลังมาใช้งานในบริษัทเพื่อตอบสนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า

วัตถุประสงค์
โครงการพัฒนาระบบการสั่งจองรถยนต์มีวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานเพื่อ วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาให้เป็นระบบงานขายที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ ได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ

ขอบเขตของระบบ
โครงการพัฒนาระบบการสั่งจองรถยนต์ได้มีการจัดทำขึ้นโดยการว่าจ้างบริษัท B มารับผิดชอบโครงการพร้อมกันนี้ได้กำหนดขอบเขตของระบบนี้มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
· ระบบจะต้องแบ่งการทำงานอย่างชัดเจน แต่ข้อมูลสามารถเชื่อมโยงกันได้
· ระบบจะต้องรองรับการทางานแบบ Multi-User ได้
· ระบบจะต้องใช้งานง่ายและสะดวก
· ระบบจะต้องเกิดข้อผิดพลาดน้อยที่สุดต่อการทำงาน
· ระบบจะต้องมีความถูกต้องและแม่นยำมากที่สุด

ปัญหาที่พบจากระบบเดิม
· การเก็บรวบรวมข้อมูลของลูกค้าและการค้นหาข้อมูลของลูกค้าเกิดความซ้ำซ้อน
· การจัดเก็บข้อมูลของสินค้าไม่เป็นระบบ
· ข้อมูลที่ได้ไม่มีความชัดเจนและแน่นอน
· เนื่องจากเป็นระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลอยู่ตลอดเวลาทำให้ข้อมูล เกิดความเสียหายและสูญหายได้
· ยากต่อการหาข้อมูล
· การทำงานของพนักงานแต่ละฝ่ายไม่มีความแน่นอน

 ความต้องการในระบบใหม่
 ความต้องการในระบบใหม่ที่รวบรวมมาได้ คือความรวดเร็วของระบบใหม่ ในการทำงาน

· สามารถเก็บ และตรวจสอบข้อมูลลูกค้า สินค้าได้
· สามารถเพิ่ม แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลของสินค้าและข้อมูลลูกค้าได้
· ให้การบริการแก่ลูกค้าในการซื้อขายเช่น การสั่งจองสินค้า การออกใบเสร็จ คำนวณ อัตราค่าภาษีและการ  ชำระจ่ายเงินได้ เป็นต้น
· สามารตรวจเช็คสินค้าที่ลูกค้าต้องการจองได้
· การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงานทุกฝ่าย เช่น บัญชี

ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบใหม่
· บริษัทสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้
· บริษัทสามารถตัดสินใจในการจัดจำหน่ายสินค้าได้
· บริษัทมีผลการดำเนินการที่ดีขึ้น
· ขั้นตอนการทำงานของระบบในบริษัทที่มีความรวดเร็ว
· ขั้นตอนการสั่งจอง-การซื้อ-ขายรถยนต์ มีความถูกต้อง ชัดเจนและรวดเร็วในการทำงาน
· สามารถจัดเก็บข้อมูลสินค้า ทำให้การสั่งจอง-การซื้อ-ขายสินค้าได้รวดเร็วและถูกต้อง และมีเอกสารใบเสร็จยืนยันให้ลูกค้า
· การทำงานของพนักงานเป็นระบบและมีประสิทธิภาพสะดวกสบายในการตรวจเช็คยอดขายและสินค้าลดระยะเวลาในการทำงาน

แนวทางในการพัฒนา
              การพัฒนาระบบของบริษัท เป็นการพัฒนาระบบในส่วนของการสั่งจิงรถยนต์และในส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การทำงานของพนักงานในแต่ละหน้าที่ซึ่งบางครั้งการทำงานขั้นตอนต่าง ๆ อาจจะมีเอกสารหรือข้อมูลที่ซับซ้อนหลายขั้นตอน ดังนั้นจึงได้มีการวิเคราะห์ระบบใหม่เพื่อความสะดวกและมีประสิทธิภาพในการทำงานเมื่อพิจารณาถึงขั้นตอนการดำเนินงานให้เหมาะสมกับบริษัทแล้วสามารถแบ่งได้ ทั้งหมด  7   ขั้นตอน 
1. การค้นหาและเลือกสรรโครงการ
2. การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
3. การวิเคราะห์ระบบ
4. การออกแบบเชิงตรรกะ
5. การออกแบบเชิงกายภาพ
6. การพัฒนาและติดตั้งระบบ
7. การซ่อมบำรุงระบบ

ขั้นตอนที่ 1 การค้นหาและเลือกสรรโครงการ ( Project Identification and Selection )
              เป็นขั้นตอนในการค้นหาโครงการเพื่อพัฒนาระบบใหม่ให้เหมาะสมกับระบบเดิมหรือ ให้เหมาะสมกับองค์กรที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือต้องการ
              ระบบเพื่อนำมาใช้ในการบริหารงานในส่วนที่เกิดความบกพร่องของบริษัท เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดในการทำงานขององค์กร  ดังนั้นจึงได้ยกตัวอย่างบริษัทที่ต้องการพัฒนาระบบ คือ บริษัทสหยานยนต์ค้ารถมือสอง ข้อมูลดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นในส่วนของระบบที่ต้องการแก้ไขคือ
· การสั่งจองสินค้า
· การเช็คสินค้าที่ลูกค้าต้องการจอง
· การจัดเก็บข้อมูลของลูกค้าและข้อมูลการสั่งจองสินค้า

ขั้นตอนที่ 2 การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ
              เป็นขั้นตอนในการเริ่มต้นทำโครงการด้วยการเริ่มต้นจัดตั้งทีมงาน ซึ่งเราจะต้องกำหนดหน้าที่ให้กับทีมงานแต่ละคนอย่างชัดเจนเพื่อร่วมกันสร้าง แนวทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้งานและนอกจากขั้นตอนดังกล่าวแล้วยังมีขั้นตอนอื่นอีกมากที่เกี่ยวข้องซึ่งเราสามารถสรุปกิจกรรมในขั้นตอนนี้ได้ดังนี้
· เริ่มต้นทำโครงการก่อนเริ่มทำโครงการเราควรศึกษาระบบเดิมในการทำงานก่อน
· กำหนดวัตถุประสงค์หรือทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้
· วางแผนการทำงานของระบบใหม่
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์
1. ศึกษาขั้นตอนการทำงานของระบบเดิม ดูว่าการทำงานของบริษัท มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้อย่างไรและเหตุใดจึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงระบบเดิมและระบบที่เปลี่ยนแปลงนี้จะเปลี่ยนในส่วนของระบบการสั่งจองสินค้า
2. การรวบรวมความต้องการในระบบใหม่จากผู้ใช้ระบบ ศึกษาหรือสอบถามข้อมูลของระบบเดิมจากพนักงานหรือผู้ใช้ระบบ
3. จำลองแบบความต้องการที่รวบรวมได้ เมื่อเรารวบรวมข้อมูลมาได้แล้ว ก็สามารถออกแบบจำลองดังกล่าวได้ด้วยวิธีการใดก็ได้ที่นักวิเคราะห์ระบบนำมาใช้ในการทำงานของระบบ

ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบเชิงตรรกะ
              เป็นขั้นตอนในการออกแบบขั้นตอนการทำงานของระบบในแต่ละส่วนงานหรือแต่ละแผนกของงาน ซึ่งในการออกแบบระบบ ระบบงานที่ได้ในแต่ละส่วนจะไม่เหมือนกัน ซึ่งอาจจะมีแบบฟอร์มหรือผลลัพธ์ที่ได้เมื่อเราวิเคราะห์ขบวนเสร็จเรียบร้อย แล้ว

ขั้นตอนที่ 5 การออกแบบเชิงกายภาพ 
              ในขั้นตอนนี้เป็นการทำงานของระบบในส่วนของเทคนิคของโปรแกรมหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นามาใช้ในการปรับปรุงระบบอาจจะเป็นระบบเครือข่าย ฐานข้อมูล โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อให้ผู้ใช้งานระบบสามารถเข้าใจขั้นตอนการทำงานมากขึ้น ซึ่งสิ่งที่ได้ในส่วนนี้จะเป็นแค่การออกแบบหลังจากนั้นจะทำการส่งให้โปรแกรมเมอร์ต่อไป

ขั้นตอนที่ 6 การพัฒนาและติดตั้งระบบ 
              ขั้นตอนนี้จะนำข้อมูลเฉพาะในส่วนที่ต้องการออกแบบของระบบมาทำการเขียนโปรแกรม เพื่อให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่ต้องการของระบบงานใหม่ อาจนำโปรแกรมที่เขียนสำเร็จรูปแล้วมาใช้งานในระบบก็ได้ หลังจากเขียนโปรแกรมแล้วเราก็ควรทำการทดลองว่าโปรแกรมใช้งานได้เหมาะสมกับการทำงานของบริษัทหรือไม่ ซึ่งในขั้นตอนนี้มีกระบวนการทางานดังนี้ 
1. เขียนโปรแกรม 
2. ทดสอบโปรแกรม 
3. ติดตั้งระบบ 
4. จัดทำเอกสาร สรุปผลการทำงานของระบบ

ขั้นตอนที่ 7 การซ่อมบำรุงระบบ
              อาจจะเป็นขั้นตอนสุดท้ายในการปรับปรุงระบบ เพราะหลังจากได้ระบบใหม่มาแล้ว เราก็นำเอาระบบที่ได้มานี้ทาการแก้ไขหากระบบที่ได้มาเกิดข้อผิดพลาด



ขั้นตอนที่
การกำหนดความต้องการของระบบ
การกำหนดความต้องการของระบบ
เมื่อโครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้าได้รับการอนุมัติจากการนำเสนอโครงการในขั้นตอนที่ผ่านมา ดังนั้น จึงเริ่มต้นด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากระบบเดิม ในการกำหนดความต้องการครั้งนี้ ทีมงานเลือกใช้วิธีการออกแบบสอบถาม

1. ออกแบบสอบถาม
         บุคคลผู้ตอบแบบสอบถามคือ “ ผู้จัดการแผนกคลังสินค้า การใช้แบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลในส่วนที่ต้องการพัฒนา เนื่องจากทีมงานสามารถควบคุมหัวข้อคาถามที่ต้องการรายละเอียดได้มากกว่าการสัมภาษณ์ไม่ต้องมีการจดบันทึกไม่รบกวนเวลาทางานของผู้จัดการแต่ละแผนกมากนักสามารถเก็บข้อมูลได้มากตามการตั้งคาถามในแบบสอบถามอีกทั้งผู้ตอบแบบสอบถามจะรู้สึกมีอิสระ
ข้อมูลและเอกสารของระบบงานเดิมที่รวบรวมได้ จากการที่ทีมงานได้เก็บรวบรวมข้อมูลของระบบเดิม ด้วยวิธีการออกแบบสอบถาม สามารถสรุปข้อมูลที่ได้รับดังนี้
1. ข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของระบบเดิม 
2. ความต้องการในระบบใหม่
1. ข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของระบบเดิม ทางบริษัทใช้ระบบเครือข่าย LANประกอบด้วย 
1.1 เครื่องแม่ข่าย จำนวน 1 เครื่อง ใช้ซอฟต์แวร์เครือข่าย Windows Server 2008 
1.2 เครื่องลูกข่าย จำนวน 20 เครื่อง ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows 7 และซอฟต์แวร์สำหรับงานสำนักงาน Microsoft Office 2010 - แผนกคลังสินค้า ใช้ซอฟต์แวร์สำเร็จรูประบบตรวจเช็คสินค้า
1.3 อุปกรณ์ต่อพ่วง ได้แก่ เครื่องพิมพ์เลเซอร์จำนวน 3 เครื่อง

2. ความต้องการของระบบใหม่ 
1. สามารถตรวจสอบสินค้าได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ 
2. ระบบสามารถประเมินยอดของสินค้าได้ว่าต้องสั่งซื้อสินค้าเพิ่มเท่าใด อะไรบ้าง โดยดูจากจานวนสินค้าคงเหลือในคลัง 
3. ข้อมูลในระบบสามารถเชื่อมโยงไปยังแผนกอื่นๆได้ แต่จะต้องทาการเข้า Login ก่อน 
4. สามารถค้นหาข้อมูลได้รวดเร็วและน่าเชื่อถือ

3. ความต้องการของผู้ใช้ในระบบใหม่ จากแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ ทางทีมงานสามารถสรุปความต้องการในระบบใหม่ได้ ดังต่อไปนี้ 
1. สามารถตรวจสอบสินค้าในคลังได้รวดเร็วและถูกต้อง
2. ตรวจเช็คการสั่งซื้อ การเบิกจ่ายได้เร็ว
3. ตรวจสอบข้อมูลปัจจุบันและข้อมูลย้อนหลังได้
4. ข้อมูลของแต่ละแผนกสามารถเชื่อมโยงกันได้
5. สามารถเพิ่มเติม แก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้
6. สามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว
7. เพิ่มประสิทธิภาพในการทางานของพนักงานทุกฝ่าย


ขั้นตอนที่ 4

แบบจาลองขั้นตอนการทางานของระบบ

จงอธิบาย Dataflow Diagram Level จาก Context Diagram สามารถแบ่งขั้นตอนการทำงานภายในระบบออกเป็น 2 ระบบ ดังนั้นจึงแยก Process ที่เกี่ยวข้องกับระบบ ดังรายละเอียดต่อไปนี้




ระบบการสินค้ามีการทางานมีการในระบบดั้งนี้ 

-พนักงานจะเป็นผู้กรอกข้อมูลรายการสินค้าที่สั่งซื้อ,ใบสั่งของ,ใบรับของ,ยอดรวมค่าสินค้า,เช็คสินค้าในระบบ,ร้องขอการพิมพ์รายงานในระบบ,ตัวระบบจะสั่งข้อมูลรายการสั่งซื้อ
-ค่าสินค้า,รายการสินค้าในคลังและการการสินค้าคงเหลือ ตอบกลับมา
-หัวหน้า เรียกดูข้อมูลการสั่งซื้อ,ยอดค่าใช่จ่ายผ่านระบบตัวระบบจะส่งข้อมูลตอบกลับมา

Level 0



อธิบาย Level 0 ใน Level นี้ มีการทางาน2ระบบใหญ่ดั้งนี้

1.0 สั่งซื้อสิ้นค้า
 
    พนักงานบันทึกรายการสินค้าที่สั่งซื้อให้กับระบบ ระบบจะทำการบันทึกข้อมูลในแฟ้ม
 ข้อมูล  
D2
     พนักงานตรวจสินค้าในระบบโดยไปดึกข้อมูลจากแฟ้มข้อมูล D1 และ D3 แล้วระบบจะแจ้งรายการสินค้า 2.0 ในคลัง
  พิมพ์รายงาน หัวหน้าพิมพ์รายงานการสั่งซื้อโดยระบบจะไปดึงข้อมูลจากแฟ้ม D2และรายงานผลให้กับหัวหน้า

Level 1



อธิบาย Level 1

             User กรอกข้อมูลไปที่ระบบตรวจสอบว่าข้อมูลว่าข้อมูลตรงกับข้อมูลในแฟ้ม User หรือไม่ถ้าข้อมูลถูกต้องก็ส่งข้อมูลไปว่าส่งข้อมูลสำเร็จถ้าข้อมูลไม่ถูกต้องก็จะแจ้งกับไปที่ User  ว่าข้อมูลไม่ถูกต้องถ้ามีการแก้ไขข้อมูลในระบบระบบจะทำการอัพเดทข้อมูลที่แก้ไขแล้วเข้าไปในแฟ้ม User แล้วก็ยืนยันการแก้ไขข้อมูลเข้าไปยัง User ถ้ามีการ Logout ก็จะ Logout เข้าไปสู้ระบบระบบก็จะทำการยืนยันการ Logout ไปที่ Use

คลังสินค้า




Dataflow Diagram Level 1 of Process 2.0 แผนกคลังสินค้า

Process 2.0 ระบบสั่งซื้อสินค้า มีขั้นตอนการทำงานย่อยภายในทั้งหมด 4 ขั้นตอนหรือ 4 Process ดังนี้

Process 2.1 ตรวจสอบสินค้า แผนกคลังสินค้าจะเข้าไปเช็คสินค้าในคลังในระบบตัวระบบจะไปตรวจสอบรายการสินค้าในคลังในแฟ้มข้อมูลสินค้าคงเหลือผ่านระบบตรวจสอบสินค้า หลังจากนั้นระบบจะส่ง รายการสินค้าคงเหลือให้กับคลังสินค้า
Process 2.2 สั่งซื้อสินค้า แผนกคลังสินค้าป้อนรายการสินค้าที่สั่งซื้อเข้าระบบ ตัวระบบจะดึงข้อมูลสั่งซื้อในแฟ้มข้อมูลสั่งซื้อและข้อมูลสินค้าในแฟ้มข้อมูลสินค้าผ่านระบบสั่งซื้อสินค้า แล้วตัวระบบจะส่งใบส่งของไปให้ระบบตรวจรับสินค้า 
Process 2.3 ตรวจรับสินค้า ระบบจะรับใบสั่งของจากระบบสั่งสินค้า และรับใบรับของจากคลังสินค้าเข้ามาในระบบ แล้วระบบจะตรวจเช็คสินค้าตามใบสั่งของและใบรับของผ่านระบบ หลังจากนั้นระบบจะส่งรายการสินค้าที่ได้รับและรายการสินค้าที่ไม่ได้รับมาให้คลังสินค้า และส่งยอดรวมค่าสินค้าไปให้ระบบช ำระสินค้า
Process 2.4 ชาระสินค้า ระบบจะได้รับยอดรวมค่าสินค้าจากระบบตรวจรับสินค้า แล้วระบบจะออกใบเสร็จสินค้าที่ต้องชำระไปให้คลังสินค้า

โครงสร้างฐานข้อมูล

ตารางUser

ตาราง Product
ตาราง Order

ตาราง Inventories

       ER Diagram


ขั้นตอนที่ 5

การออกแบบ User Interface

1.หน้า Login เพื่อเข้าสู่ระบบการทำงาน


2.หน้านี้คือเมื่อเข้าสู่ระบบจะเข้าสู่ระบบการทำงาน มี 4 ส่วนคือ 
-   ระบบการสั่งซื้อสินค้า 
-   ระบบตรวจสอบสินค้า 
-   ระบบตรวจรับสินค้า 
-   ระบบชำระสินค้า

3.โปรแกรมดูรายละเอียดสินค้าและตรวจสอบสินค้าในคลังสินค้า

4. หน้าโปรแกรมการสั่งซื้อสินค้าของบริษัทถ้าบริษัทต้องการสั่งซื้อสินค้าต้องเข้าไปกรอกข้อมูลการสั่งซื้อสินค้าในหน้านี้

5. หน้าการตรวจสอบการรับสินค้าว่าสินค้าว่าครบหรือไม่ ถ้าครบทำการตกลงให้ข้อมูล

6. หน้านี้คือขั้นตอนการชำระเงิน



 ขั้นตอนที่ 6

การพัฒนาและติดตั้งระบบ

            ขั้นตอนนี้จะนำข้อมูลเฉพาะในส่วนที่ต้องการออกแบบของระบบมาทาการเขียนโปรแกรมเพื่อให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่ต้องการของระบบงานใหม่อาจนาโปรแกรมที่เขียนสำเร็จรูปแล้วมาใช้งานในระบบก็ได้หลังจากเขียนโปรแกรมแล้วเราก็ควรทำการทดลองว่าโปรแกรมใช้งานได้เหมาะสมกับการทำงานของบริษัทหรือไม่ ซึ่งในขั้นตอนนี้มีกระบวนการทำงานดังนี้
· เขียนโปรแกรม
· ทดสอบโปรแกรม
· ติดตั้งระบบ
· จัดทำเอกสาร สรุปผลการทำงานของระบบ


ขั้นตอนที่ 7

การซ่อมบำรุงระบบ

            อาจจะเป็นขั้นตอนสุดท้ายในการปรับปรุงระบบ เพราะหลังจากได้ระบบใหม่มาแล้ว เราก็นำเอาระบบที่ได้มานี้ทำการแก้ไขหากระบบที่ได้มาเกิดข้อผิดพลาดแผนการดำเนินงานของโครงการ แผนการดำเนินงานของโครงการที่ต้องการวิเคราะห์ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลง คือ ระบบการสั่งจองสินค้า และส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมีดังต่อไปนี้
- ทีมงานผู้รับผิดชอบโครงการ
- ประมาณการใช้ทรัพยากร
- ประมาณการใช้งบประมาณ
- ประมาณระยะเวลาดำเนินงาน


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น